Page 11 - ปฏิบัติการ 1 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กับ ระบบงานแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน
P. 11

ปฏิบัติการที่ 1 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กับ ระบบงานแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน



               น าไปใช้ในการจัดเก็บข้อมูลทรัพย์สินของบุคคลต่างๆ จากทะเบียนทรัพย์สิน ปัจจุบันมีการพัฒนาทางด้าน
               เทคโนโลยีสารสนเทศก้าวหน้ามากขึ้น ซึ่งระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศระบบ
               หนึ่งที่เริ่มเข้ามามีบทบาทในด้านการบริหารงานขององค์กรต่างๆ รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และยัง

               สามารถน าเข้าข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) และข้อมูลเชิงบรรยาย (Attributes Data) ได้ โดยเฉพาะข้อมูลเชิง
               พื้นที่ที่สามารถบอกถึงต าแหน่งของวัตถุต่างๆได้ เช่น ต าแหน่งของแปลงที่ดิน โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้าง

               อื่นๆ ป้าย และสถานที่ต่างๆ นอกจากนั้นยังสามารถบรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลเชิงพื้นที่ต่างๆนั้นได้

               ด้วย เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับแปลงที่ดิน สามารถเพิ่มเติมรายละเอียดข้อมูลต่างๆเข้าไปได้ และระบบสารสนเทศ
               ภูมิศาสตร์ (GIS) ในปัจจุบันยังเปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถพัฒนาประยุกต์โปรแกรมและเครื่องมือต่างๆช่วยในการ

               ปฏิบัติงานเฉพาะที่ต้องการเพิ่มเติมได้ตลอดเวลา

                             เมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดท าแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินด้วยระบบสารสนเทศ
               ภูมิศาสตร์ (GIS) เสร็จแล้ว สิ่งที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะได้รับ คือ การมีฐานข้อมูลเกี่ยวกับทรัพย์สินของ

               ประชาชนภายในเขตปกครอง ได้แก่ ข้อมูลเกี่ยวกับที่ดิน โรงเรือนและสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ ป้าย และสถานที่ต่างๆ

               องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถน าไปใช้เป็นฐานข้อมูลในการจัดเก็บภาษี ได้แก่ ภาษีบ ารุงท้องที่ ภาษี
               โรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย การจัดเก็บค่าขยะมูลฝอยและค่าประปา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และนอกจากนั้น

               ยังสามารถน าไปประยุกต์ใช้กับหน่วยงานอื่นๆขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ ตามโครงสร้างระบบ
               Application ในภารกิจนั้นๆ เพิ่มขึ้น ดังนี้

                  1.ส านักปลัด      - การก าหนดเขตเลือกตั้ง
                                    - การวางต าแหน่งตู้โทรศัพท์

                                    - วางต าแหน่งสัญญาณไฟจราจร
                  2.ส านักช่าง      - การวางแผนพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐาน เช่น   การวางสายไฟฟ้า การวางท่อระบายน้ า
                                    - การวางแผนการพัฒนาและปรับปรุงการให้บริการน้ าประปา ทราบถึงต าแหน่งของแหล่งน้ าต่างๆ

                                    และพัฒนาแหล่งน้ า
                                    - การวางแผนพัฒนาและปรับปรุงโครงข่ายถนน (ท าให้ทราบรายละเอียดของภนนภายในท้องถิ่น)
                                    - การวางแผนการพัฒนาและปรับปรุงการให้บริการด้านไฟฟ้าสาธารณะ (ท าให้ทราบต าแหน่งมี่ตั้ง
                                    ไฟฟ้าสาธารณะและพื้นที่บริการ)

                                    - การบริหารจัดการดูแลและซ่อมบ ารุงสาธารณสมบัติ  ซึ่งจะสามารถตรวจสอบและค้นหาสาธารณ
                                    สมบัติที่ต้องการได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
                  3. กองสาธารณสุข   - ระบบงานใบอนุญาตประกอบกิจการ

                                    - การก าหนดพื้นที่ที่เก็บขยะ เพื่อให้ไกลจากแหล่งชุมชน
                                    - การก าหนดเส้นทาง/แบ่งเขตการเก็บขยะ
                                    - การก าหนดพื้นที่ป้องกันโรคต่างๆ

                  4. งานป้องกันและ  - สามารถวิเคราะห์และพิจารณาสถานที่เกิดเหตุ เพื่อควบคุมและประสานการท างานหน่วยงานต่างๆ
                  บรรเทาสาธารณภัย   - สามารถวางแผนและพัฒนาระบบป้องกันสาธารณภัยต่างๆ






                  1-10   www.ajarnveerapong.com
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16