Page 8 - ปฏิบัติการ 1 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กับ ระบบงานแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน
P. 8

ปฏิบัติการที่ 1 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กับ ระบบงานแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน



                      ความสัมพันธ์ระหว่างแผนที่ภาษีฯกับการจัดเก็บรายได้
                      การจัดเก็บรายได้ตามหลักการของกฎหมายภาษีบ ารุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน  ภาษีป้าย ได้
               ก าหนดขั้นตอน วิธีการปฏิบัติไว้คล้ายคลึงกัน กล่าวคือ

                              1.  การยื่นแบบแสดงรายการเพื่อช าระภาษี
                              2.  การตรวจข้อเท็จจริง ความถูกต้อง ในการครอบครองและใช้ประโยชน์ทรัพย์สิน

                              3.  การประเมินภาษี

                              4.  การแจ้งการประเมิน
                              5.  การรับช าระภาษี ออกใบเสร็จ

                              6.  การเร่งรัดการจัดเก็บภาษี

                              7.  การรับเรื่องและพิจารณาอุทธรณ์ภาษี
                              8.  การด าเนินคดีแก่ผู้หลีกเลี่ยง

                      การน าแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินไปใช้ในการจัดเก็บภาษี จะมีความส าคัญอยู่ในขั้นตอนล าดับที่

               2   3   และ   6  โดยกระทรวงมหาดไทยก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติในเรื่องนี้ให้เจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้น า
               ข้อมูล จากทะเบียนทรัพย์สิน (ผ.ท.4) มาใช้ในการตรวจสอบกับแบบแสดงรายการที่ผู้มีหน้าที่ต้องช าระภาษียื่น

               ต่อท้องถิ่นนั้นๆ เพื่อประกอบในการประเมินภาษี
                      องค์ประกอบของกฎหมายการจัดเก็บภาษีและค่าธรรมเนียมใบอนุญาตฯ รวมทั้งกระบวนการปฏิบัติ

               หน้าที่ได้น าเสนอโดยสังเขปแล้ว จะเห็นได้ว่าในการด าเนินการจัดเก็บภาษี และค่าธรรมเนียมใบอนุญาตต่างๆ

               สิ่งที่ส าคัญคือ ผู้ปฏิบัติงานต้องมีข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นปัจจุบันจึงสามารถจัดเก็บรายได้ในส่วนนี้ได้อย่างเต็ม
               เม็ดหน่วย


                      หลักส าคัญของการบริหารงานจัดเก็บรายได้โดยใช้แผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน

                      1.  การปรับข้อมูล เรื่องนี้มีความส าคัญมาก จากที่กล่าวมาตั้งแต่ตน ได้ชี้ให้เห็นถึงความส าคัญและ
               ระบบข้อมูลที่เรามาใช้ในการจัดเก็บรายได้ของท้องถิ่น ดังนั้นข้อมูลที่ถูกต้องสมบูรณ์ และเป็นปัจจุบันเท่า นั้น

               ที่จะท าให้การบังคับใช้กฎหมายจัดเก็บรายได้เกิดประสิทธิภาพเต็มตามที่ตั้งเป้าหมายไว้

                      2.  การน าแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินไปใช้ในการจัดเก็บรายได้   เรื่องนี้ก็เป็นอีกเรื่องที่มี
               ความ ส าคัญไม่แพ้เรื่องแรก เท่าที่กรมการปกครองได้ออกตรวจเกี่ยวกับการน าแผนที่ภาษีและทะเบียน

               ทรัพย์สินไปใช้ ปรากฏว่าท้องถิ่นบางแห่งไม่ค่อยน าไปใช้อย่างจริงจังมากนัก ข้ออ้างที่มักพบอยู่เสมอก็คือแผนที่
               ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินมีข้อมูลไม่ครบจึงไม่อาจน าไปใช้  อีกทั้งเจ้าหน้าที่ที่จัดเก็บรายได้ยังไม่ค่อยเข้าใจ

               ในระบบและเห็นว่าเป็นเรื่องยุ่งยาก การน าข้อมูลในแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สินไปใช้นอกจากจะช่วยให้

               การปรับข้อมูลไปด้วยดีในตัวของมันเองแล้ว ยังท าให้เจ้าของทรัพย์สินที่ต้องช าระภาษียินยอมช าระภาษีจน
               ครบถ้วนถูกต้อง ตามข้อเท็จจริง เรื่องการน าไปใช้เป็นเรื่องที่ต้องท าความเข้าใจกันให้ดีระหว่างเจ้าหน้าที่

               ผู้รับผิดชอบในกองคลัง และกองช่าง ซึ่งผู้ที่ต้องรับหน้าที่ในการประสานงานและควบคุมดูแลก็หนีไม่พ้น

               ผู้อ านวยการหรือหัวหน้ากองคลัง และกองช่าง ไปจนถึงปลัด อปท.



                    1-7  www.ajarnveerapong.com
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13