Page 9 - ปฏิบัติการ 1 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กับ ระบบงานแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน
P. 9

ปฏิบัติการที่ 1 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ กับ ระบบงานแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน



               การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บภาษี
                      พรทิพย ติลกานันท           ศึกษาการด าเนินงานจัดเก็บภาษีของเทศบาลขอนแกน  พบวา  การ

               ด าเนินการจัดเก็บภาษีดวยระบบมือ มักจะประสบปญหาในการด าเนินงาน อันมีผลกระทบตอการจัดเก็บรายได
               ของเทศบาลโดยจ าแนกปญหาออกเปน 4  กลุม  ดวยกันคือ

                      (1) ปญหาเกี่ยวกับสภาพและขั้นตอนการจัดเก็บภาษี สัดสวนเจาหนาที่ จัดเก็บภาษีและผูอยูในขาย

               ช าระภาษีสูงมาก กลาวคือ เจาหนาที่จัดเก็บภาษี จ านวน 6 คน จะตองดูแลจัดเก็บภาษีจากผูอยูในขายช าระ
               ภาษีประมาณ 9,900 ราย ประกอบกับขั้นตอนการปฏิบัติงานเกี่ยวกับ การตรวจสอบ ค านวณ บันทึกขอมูล

               และจัดท าเอกสารรายงานซึ่งตองท าซ้ า  ๆ  กันในปริมาณมากทุกป ท าใหการปฏิบัติงานของเจาหนาที่จัดเก็บ

               ภาษีผิดพลาดและลาชา
                      (2) ปญหาการน าเข้าและจัดเก็บข้อมูล เนื่องจากเอกสาร แบบฟอรมที่ ใช ในการปฏิบัติงานมีจ านวน

               มาก ท าใหเปนภาระในการกรอกขอมูล ตรวจสอบขอมูล จัดเก็บเอกสาร และการบันทึกขอมูลเกิดความ

               ผิดพลาด
                      (3)  ปญหาเกี่ยวกับการประมวลผลขอมูล  พบวา  มีความยุงยากในการคนหาเอกสาร  และมีความ

               ผิดพลาดในการบันทึกขอมูลระหวางปฏิบัติงาน
                      (4)  ปญหาเกี่ยวกับการจัดท ารายงานส าหรับผูบริหาร  เจาหนาที่ไมสามารถจัดท ารูปแบบการ

               น าเสนอไดหลากหลาย และตองใชเวลาในการจัดท ามากเนื่องจากจัดท าดวยมือ

                      จากการวิเคราะห ปญหาขางตน จึงไดก าหนดลักษณะ ความสามารถของระบบ ขั้นตอนการท างาน
               ขอมูลน าเขาและขอมูลผลลัพธของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บภาษีดังนี้

                      (1) ลักษณะของระบบ ก าหนดใหเปนระบบคอมพิวเตอรเครือขาย เชื่อมตอระหวางงานแผนที่ภาษีและ
               งานจัดเก็บภาษี โดยมี ความสามารถที่ส าคัญไดแก ความสามารถในการยืดหยุนตอการค านวณ เพื่อประเมินค

               าภาษี  ในกรณี  มีการลดหยอนภาษี  สามารถน าเสนอขอมูลของผูอยูในขายตองช าระภาษี  และทรัพยสินที่

               ครอบครองไดครบถวนภายใน 1 หนาจอ สามารถสอบถามขอมูลได หลายทาง สามารถควบคุม ปองกันการ
               เปลี่ยนแปลงแกไขขอมูล สามารถอางอิงหลักฐานทางเอกสารและทางการเงินได สามารถดูภาพของทรัพยสิน

               เพื่อประกอบการประเมินคาภาษี สามารถจัดท ารายงานสรุป รายงานแนวโนม และรายงานเปรียบเทียบ โดย

               แสดงขอมูลเหตุผลประกอบได
                      (2) ขอมูลน าเขา ก าหนดใหบันทึก สาเหตุหรือเหตุผลการลดหยอนภาษี จ านวนคาลดหยอนภาษี

               ขอมูลการอุทธรณภาษี การเรงรัดภาษี เพื่อใชในการประมวลผลสถิติ

                      (3) ขั้นตอนการประมวลผล ก าหนดใหลดขั้นตอนการรับแจงเปลี่ยนแปลงขอมูลกรรมสิทธิ์และการใช
               ประโยชนทรัพยสิน การส ารวจผูอยูในขายช าระภาษีรายใหม โดยใหรวมอยูในหนาที่ความรับผิดชอบของงาน

               แผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพยสินอยางชัดเจน และเพิ่มขั้นตอนการรับแจงอุทธรณภาษี เพื่อรองรับการอุทธรณ
               ภาษีที่อาจมีในอนาคต ดังนั้น ขั้นตอนของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บภาษีประกอบดวย

                      - เตรียมการจัดเก็บภาษี

                      - ประเมินภาษี


                    1-8   www.ajarnveerapong.com
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14